ตอบกระทู้ 
 
คะแนนกระทู้:
  • 0 Votes - 0 Average
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
5 เคล็ดลับเลี้ยงทารกแรกเกิด ที่คุณแม่มือใหม่ควรรู้
Sun, 15 Aug 21, 13:32
Post: #1
5 เคล็ดลับเลี้ยงทารกแรกเกิด ที่คุณแม่มือใหม่ควรรู้
5 เคล็ดลับเลี้ยงทารกแรกเกิด ที่คุณแม่มือใหม่ควรรู้

เมื่อชีวิตน้อย ๆ ถือกำเนิดขึ้นมาแล้ว วัยแรกเกิดเป็นช่วงเวลาที่สำคัญมาก ถือเป็นหน้าที่ของคุณพ่อและคุณแม่ซึ่งเป็นผู้ดูแลและฝึกทักษะให้ลูกน้อยมีพัฒนาการในด้านต่าง ๆ เพราะพัฒนาการในช่วงวัยแรกเกิดเป็นพื้นฐานของพัฒนาเด็กให้เติบโตสมวัยต่อไป สำหรับคุณแม่มือใหม่ เราแนะนำให้เข้าไปอ่านเคล็ดลับดี ๆ จาก แอพสําหรับคนท้อง alive ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันด้านสุขภาพที่ให้ความรู้และให้คำแนะนำ เกี่ยวกับสุขภาพและวิธีการเลี้ยงลูกให้เติบโตมีพัฒนาการที่สมวัย ดังนี้

1.พัฒนาการด้านสติปัญญาและการเรียนรู้
เคล็ดลับการเตรียมความพร้อมให้ทารกฉลาดและเรียนรู้ได้เร็วคือช่วงแรกเกิดทารกต้องการการพักผ่อนนอนหลับนานถึง 18 ชั่วโมงต่อวัน เพื่อเพิ่มพลังงานสมองให้พร้อมทั้งด้านสติปัญหาและการเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นประสาทสัมผัสด้านการฟัง การมองเห็น รับรู้จากการสัมผัสและโอบกอด การคว้าจับสิ่งของและแยกรสชาติของอาหารได้ ทั้งนี้ รีวิว แอพ alive ถือเป็นคลังข้อมูลขนาดใหญ่ที่เป็นประโยชน์ต่อคุณแม่มือใหม่และทุกคนในครอบครัวที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพ รวมถึงการเลี้ยงทารกแรกเกิดซึ่งเป็นช่วงเวลาสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาทางร่างกายและอารมณ์ คุณแม่ควรเล่นกับลูกบ่อย ๆ เพื่อให้ทารกรับรู้และตอบสนองมากขึ้น

2.พัฒนาการด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
ทารกแรกเกิดเคลื่อนไหวร่างกายได้บางส่วน มีกระพริบตา ขยับแขนขาได้บ้าง ส่วนใหญ่เป็นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง เมื่อมีเสียงดังเด็กจะผวาตกใจ เมื่อสัมผัสตัวตรงไหนหรือมีเสียงจากด้านไหนทารกจะหันศีรษะไปทางนั้น แตะแก้มสลับซ้ายขวาให้ลูกเอียงศีรษะหรือหันตาม การนวดสัมผัสทารกแรกเกิดเป็นอีกวิธีช่วยกระตุ้นสัญชาติญาณของทารกและทำให้รู้สึกผ่อนคลาย เมื่อโตขึ้นจะเริ่มพลิกตัวไปมาและขยับนิ้วมือนิ้วเท้าของตัวเองเล่น พ่อแม่ควรหยอกเล่นเพื่อกระตุ้นให้ทารกเล็ก ๆ ตอบสนองและเคลื่อนไหวมากขึ้น

3.พัฒนาการด้านภาษาและการสื่อสาร
การเรียนรู้ด้านภาษาและการสื่อสารเริ่มตั้งแต่ยังอยู่ในท้องแม่ ทารกในครรภ์มีการตอบสนองต่อเสียงดนตรีและเสียงพูดคุยของแม่ ทารกเคลื่อนไหวและแสดงออกถึงความต้องการของตนเองได้ ช่วงแรกเกิดการแสดงออกยังไม่มากนัก ถือเป็นช่วงของการเรียนรู้และจดจำสิ่งที่่รับรู้ได้จากประสาทสัมผัสต่าง ๆ คุณแม่ควรอยู่ใกล้ชิดและเล่นกับลูกเป็นประจำเพื่อเป็นพื้นฐานของการสื่อสาร หลังจากอายุ 6 เดือนไปแล้ว ลูกน้อยจะเริ่มส่งเสียงอ้อแอ้เพื่อสื่อสารกับแม่และร้องไห้แสดงออกถึงความต้องการของตนเอง คุณแม่ควรพูดคุยกับลูกให้มาก เช่น พูดหม่ำ ๆ เวลากินนมเพื่อสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน แนะนำให้เปลี่ยนคำพูดบ่อย ๆ เพื่้อให้ลูกเข้าใจคำที่หลากหลายมากขึ้น ซึ่งใน แอป เอ ไลฟ์ จะมีกลุ่มแชทให้คุณแม่พูดคุย แชร์ประสบการณ์และรับคำแนะนำจากบรรดาคุณแม่ที่มีประสบการณ์เหมือนกัน

4.พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคม
คุณแม่ควรอุ้ม พูดคุย สบตาและสัมผัสทารกบ่อย ๆ เพื่อสื่ออารมณ์ทั้งการพูด การฟัง และการมองเห็นเพื่อสร้างความคุ้นเคย งานนี้ตกเป็นภาระหนักของคุณแม่เพราะเด็กทารกมักจะชอบฟังเสียงสูงและเสียงพูดที่ขึ้นลงของผู้หญิงมากกว่าเสียงทุ้มต่ำของคุณพ่อ แนะนำให้ซื้อโมบายสีสดใสมาแขวนกระตุ้นให้เด็กทารกมองตามและพยายามไขว่คว้า การพูดคุย สัมผัสตัว เล่นกับลูก ชี้ชวนให้ดูสิ่งต่าง ๆ เป็นการแสดงความรักทำให้ลูกเกิดความอบอุ่นและไว้วางใจพ่อแม่ ลูกน้อยจะมีความสุขและยิ้มแย้มแจ่มใสเสมอซึ่งเป็นการส่งเสริมพัฒนาการในด้านอารมณ์และพฤติกรรมได้ดีที่สุด

หลายคนสนใจว่า แอพ alive ดีไหม คุณแม่ที่ยังใหม่ต่อประสบการณ์เลี้ยงลูกคนแรกลองเข้าไปใช้งาน แอพคุยกับหมอ alive ค้นหาเรื่องราวที่สนใจได้จากคลังข้อมูลที่น่าเชื่อถือ มีเรื่องราวดี ๆ ที่เป็นประโยชน์สำหรับคุณแม่ตั้งแต่ตอนตั้งครรภ์ไปจนถึงวิธีการดูแลลูกให้เรียนรู้และปรับตัวได้ดี มีพัฒนาการสมวัย รวมถึงสอบถามข้อสงสัยจากแพทย์และพยาบาลผู้เชี่ยวชาญผ่านทางวิดีโอคอลและการแชทในแอปพลิเคชั่นได้อีกด้วย

แอพตั้งครรภ์ https://www.iphonemod.net/10-applicatione-for-mom-and-pregnant.html

ที่มาข้อมูล :
https://www.aia.co.th/th/Alive.html
https://baby.kapook.com/view81943.html
https://www.enfababy.com /พัฒนาการและสุขภาพ/พัฒนาการ360อัจฉริยะรอบด้านของลูกน้อยวัยแรกเกิด
https://www.paolohospital.com/th-TH/cent...นตั้งครรภ์
[Image: d85073a7b6db6249e4bf09d1d7b4150e.md.jpg]
ค้นหาข้อความทั้งหมดของสมาชิกท่านนี้
อ้างถึงข้อความนี้ในการตอบกระทู้
ตอบกระทู้ 


** ข้อแตกต่างระหว่างการตอบกระทู้โดยใช้กล่อง comment ของ Facebook กับกล่องตอบข้อความของทางเว็บ


ไปยังหัวข้อ:


ผู้ที่กำลังดูกระทู้นี้: 2 ผู้เยี่ยมชม